Enfa สรุปให้
เลือกอ่านตามหัวข้อ
• หน่วยชั่งตวงที่คุณพ่อคุณแม่ควรรู้
• ตารางเทียบออนซ์ (oz) มิลลิลิตร (ml) และคิวบิกเซนติเมตร (cc)
• แปลง ml เป็น oz
• แปลง oz เป็น ml
• แปลง oz เป็น cc
• แปลง cc เป็น oz
การรู้จักหน่วยชั่งตวง โดยเฉพาะหน่วยวัดพื้นฐาน เป็นสิ่งสำคัญที่พ่อแม่ควรทราบ เพราะช่วยให้สามารถชั่งตวงปริมาณนมและยาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้ลูกได้รับอาหารและยาที่ตรงกับความต้องการในแต่ละช่วงวัย บทความนี้จาก Enfa ได้รวบรวมหน่วยการวัดตวงที่พ่อแม่ควรรู้จัก เช่น 1 ออนซ์เท่ากับกี่มิลลิลิตร (ml)? 1 oz เท่ากับกี่มิลลิลิตร? และ 1 ออนซ์เท่ากับกี่ซีซี (cc)? เพื่อเป็นแนวทางในการวัดตวงปริมาณต่าง ๆ ในการดูแลลูกอย่างเหมาะสม
หน่วยชั่งตวงพื้นฐานสำหรับการตวงวัดปริมาณนมผง ปริมาณน้ำ ปริมาณนมแม่ ปริมาณยา โดยทั่วไปที่คุณพ่อคุณแม่ควรรู้จัก เพื่อให้สามารถตวงยาหรืออาหารได้ถูกต้อง มีดังนี้
ช้อนโต๊ะ (Table Spoon)
ช้อนโต๊ะ หรือช้อนกินข้าวในภาษาปากที่เรานิยมเรียกกัน แต่ต้องทำความเข้าใจกันใหม่ว่า ช้อนกินข้าวนี้ หมายถึงช้อนตวงที่ใช้ในทางการแพทย์ ไม่ใช่ช้อนกินข้าวแบบช้อนสั้นหรือช้อนยาวที่เราเข้าใจกัน แต่ที่เรียกช้อนโต๊ะนั้น เพื่อเป็นนัยสื่อว่านี่คือขนาดช้อนตวงที่ใหญ่ที่สุดในโต๊ะกินข้าว
โดย 1 ช้อนโต๊ะ จะมีปริมาณเท่ากับ 3 ช้อนชา
ช้อนชา (Tea Spoon)
ช้อนชา เป็นช้อนที่มีขนาดเล็กมาก มักใช้ตวงวัดสำหรับสิ่งของต่าง ๆ ที่ต้องการใช้ในปริมาณที่น้อย
โดย 1 ช้อนชา จะมีปริมาณเท่ากับ 1/3 ช้อนโต๊ะ
ออนซ์ (Ounce)
เป็นหน่วยการวัดตวงที่ใช้เพื่อวัดปริมาณของเหลว คุณพ่อคุณแม่จะคุ้นเคยกับหน่วยวัดนี้เป็นอย่างดีเพราะต้องมีการตวงวัดนมผง นมแม่ นมวัว รวมถึงยาน้ำบางชนิดด้วย
โดย 1 ออนซ์ จะมีปริมาณเท่ากับ 28.35 กรัม
มิลลิลิตร (Milliliters)
เป็นหน่วยการวัดปริมาณของเหลว ซึ่งคุณพ่อคุณแม่อาจจำเป็นต้องใช้ในการตวงส่วนผสมต่าง ๆ เช่น ตวงน้ำเพื่อชงนม ตวงของเหลวเพื่อทำอาหารให้ลูก เป็นต้น
โดย 1,000 มิลลิลิตร จะมีปริมาณเท่ากับ 1 ลิตร
กรัม (Gram)
เป็นหน่วยการวัดปริมาณสิ่งของโดยทั่วไป ซึ่งคุณพ่อคุณแม่ก็จะคุ้นเคยกับหน่วย กรัม ผ่านของใช้ลูก เช่น นมผง แป้งฝุ่น เป็นต้น
อัตราส่วนระหว่างออนซ์ (oz) มิลลิลิตร (ml) และคิวบิกเซนติเมตร (cc) สามารถแปลงค่าระหว่างกันได้ ดังนี้
ออนซ์ (oz) |
มิลลิลิตร (ml) |
คิวบิกเซนติเมตร (cc) หรือลูกบาศก์เซนติเมตร |
1 |
29.6 |
29.6 |
10 |
296 |
296 |
100 |
2,957 |
2,957 |
1,000 |
29,574 |
29,574 |
มิลลิลิตร (ml) |
ออนซ์ (oz) |
คิวบิกเซนติเมตร (cc) หรือลูกบาศก์เซนติเมตร |
1 |
0.034 |
1 |
10 |
0.34 |
10 |
100 |
3.4 |
100 |
1,000 |
34 |
1,000 |
คิวบิกเซนติเมตร (cc) หรือลูกบาศก์เซนติเมตร |
มิลลิลิตร (ml) |
ออนซ์ (oz) |
1 |
1 |
0.033814 |
10 |
10 |
0.33814 |
100 |
100 |
3.3814 |
1,000 |
1,000 |
33.814 |
วิธีแปลงมิลลิลิตรเป็นออนซ์ สามารถทำได้ 2 แบบ คือแบบอังกฤษ และ แบบสหรัฐอเมริกา ดังนี้
30 ml เท่ากับกี่ออนซ์
50 ml เท่ากับกี่ออนซ์
100 ml เท่ากับกี่ oz
150 ml เท่ากับกี่ออนซ์
150 มิลลิลิตรเท่ากับกี่ออนซ์?
160 ml เท่ากับกี่ออนซ์
180 ml เท่ากับกี่ออนซ์
200 ml เท่ากับกี่ออนซ์
250 ml เท่ากับกี่ออนซ์
250 มล. ท่ากับกี่ออนซ์?
400 ml เท่ากับกี่ออนซ์
450 ml เท่ากับกี่ออนซ์
500 ml เท่ากับกี่ออนซ์
550 ml เท่ากับกี่ออนซ์
600 ml เท่ากับกี่ออนซ์
750 ml เท่ากับกี่ออนซ์
900 ml เท่ากับกี่ออนซ์
1000 ml เท่ากับกี่ออนซ์
วิธีแปลงออนซ์เป็นมิลลิลิตร จะขึ้นอยู่กับว่าเป็นการคำนวณแบบใด เพราะจะมีค่าตั้งต้นที่แตกต่างกัน ดังนี้
วิธีแปลงออนซ์เป็นมิลลิลิตร แบบอังกฤษ 1 oz=28.4 ml
วิธีแปลงออนซ์เป็นมิลลิลิตร แบบสหรัฐอเมริกา 1 oz=29.6 ml
1 ออนซ์เท่ากับกี่ ml
1 oz เท่ากับกี่ ml?
1.5 ออนซ์เท่ากับกี่ ml
1.5 oz เท่ากับกี่ ml?
4 ออนซ์เท่ากับกี่ ml
4 oz เท่ากับกี่ml?
16 oz เท่ากับกี่ ml
16 ออนซ์เท่ากับกี่ ml?
20 ozเท่ากับกี่ ml
20 ออนซ์เท่ากับกี่ ml?
30 ออนซ์เท่ากับกี่ ml
30 oz เท่ากับกี่ ml?
32 oz เท่ากับกี่ ml
32 oz เท่ากับกี่ ml?
40 oz เท่ากับกี่ ml
40 ออนซ์เท่ากับกี่ ml?
วิธีแปลงออนซ์เป็นคิวบิกเซนติเมตร (หรือลูกบาศก์เซนติเมตร) สามารถจำแนกการคำนวณได้เป็น 2 วิธี คือ การคำนวณแบบอังกฤษและแบบสหรัฐอเมริกา
โดยมีขั้นตอนในการคำนวณจากออนซ์เป็นคิวบิกเซนติเมตร ดังนี้:
1 ออนซ์เท่ากับกี่ cc
วิธีแปลงคิวบิกเซนติเมตรเป็นออนซ์ (ลูกบาศก์เซนติเมตรเป็นออนซ์) สามารถคำนวณได้ทั้งแบบสหรัฐอเมริกาและแบบอังกฤษ ดังนี้
1 cc เท่ากับกี่ออนซ์
อัตราส่วนของ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร เท่ากับ 0.033814 ออนซ์ (คำนวณแบบสหรัฐอเมริกา)
อัตราส่วนของ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร เท่ากับ 0.035195 ออนซ์ (คำนวณแบบอังกฤษ)
คุณพ่อคุณแม่รู้ไหมคะว่า เด็กจะมีพัฒนาการ IQ และ EQ ที่ก้าวล้ำตั้งแต่ยังเล็กได้นั้น นอกจากการฝึกฝน เลี้ยงดู และอบรมสั่งสอนแล้ว การใส่ใจกับโภชนาการตั้งแต่ลูกยังเล็ก โดยเฉพาะในช่วง 5 ปีแรกของชีวิตนั้น ถือว่าเป็นการปูพื้นฐานที่สำคัญ ซึ่งจะช่วยให้ลูกพร้อมเติบโตมาเป็นเด็กที่ทั้งฉลาดทางความคิดและฉลาดทางอารมณ์
โดยโภชนาการที่สำคัญที่ลูกน้อยควรได้รับก็คือนมแม่ เพราะในนมแม่มีสารอาหารอย่าง MFGM หรือเยื่อหุ้มอนุภาคไขมันในนมแม่ ประกอบด้วยโปรตีนและไขมันกว่า 150 ชนิด อย่างสฟิงโกไมอิลีน ฟอสโฟลิปิด แกงกลิโอไซต์ ซึ่งเป็นกลุ่มสารอาหารที่มีส่วนช่วยสำคัญต่อการเสริมพัฒนาการเรียนรู้และจดจำ เพื่อ IQ ที่เหนือกว่าตั้งแต่ 5 ขวบปีแรก
Enfa สรุปให้ ไวท์ดอทไม่ได้ท้อง ก็สามารถเกิดไวท์ดอทที่หัวนมได้ ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากฮอร์โมนในร่างก...
อ่านต่อEnfa สรุปให้ ลูกซัดอุดมไปด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ เช่น ไฟเบอร์ โปรตีน ธาตุเหล็ก วิตามินบี แมกนี...
อ่านต่อตรวจสอบข้อมูลโดย : ผศ.พญ.ดิษจี ลุมพิกานนท์กุมารแพทย์ สาขาทารกแรกเกิดและปริกำเนิดภาควิชากุมารเวชศา...
อ่านต่อ